ปลาวาฬแสนรัก
ยินดีต้อนรับ
ขอต้อนรับนักเรียนทุกคนสู่ weblog ของครู และขอให้นักเรียนทุกคนค้นหาข้อมูลอย่างมีความสุข
วันพุธที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2553
วัดปราสาทสิทธิ์หลัก5
วัดปราสาทสิทธิ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
วัดปราสาทสิทธิ์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 5 ตำบลประสาทสิทธิ์ อำเภออำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งแต่เดิมตำบลประสาทสิทธิ์รวมอยู่กับตำบลดอนไผ่ ในบริเวณหลัก 5 ริมคลองดำเนินสะดวก ชาวบ้านจึงมักเรียกว่าวัดดอนไผ่ หรือวัดหลักห้า มีพื้นที่ 12 ไร่เศษ วัดเดิมตั้งอยู่ห่างจากริมคลองดำเนินสะดวกประมาณ 500 เมตร ซึ่งปัจจุบันคือที่ตั้งพระอุโบสถ สร้างโดย สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยสร้างขึ้นในปีฉลู พ.ศ. 2369
วัดปราสาทสิทธิ์
[แก้] มูลเหตุของการสร้างวัดปราสาทสิทธิ์
เมื่อ พ.ศ. 2371 รัชกาลที่ 3 ทรงปรารภว่าคลองสุนัขหอน ซึ่งเป็นคลองเชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำแม่กลองกับแม่น้ำท่าจีน ที่ตำบลรางเข้ มักตื้นเขินอยู่บ่อยครั้ง จะแก้ปัญหาอย่างไร เจ้าพระยาคลัง (ดิศ บุนนาค) จึงกราบบังคมทูลว่า ควรขุดคลองแยกจาก คลองสุนัขหอนผ่านทุ่งริมหมู่บ้านโพหัก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงรับสั่งให้ขุดคลองดังกล่าว โดยชาวจีนเป็นผู้รับจ้าง ซึ่งชาวจีนเหล่านี้อาศัยอยู่ที่โคกสูงในเขตตำบลดอนไผ่ หรือปัจจุบันคือที่ตั้งพระอุโบสถของวัดปราสาทสิทธิ์ เมื่อขุดคลองดังกล่าวเสร็จ เจ้าพระยาคลังได้มาตรวจดูความเรียบร้อย โดยมีสมเด็จเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ติดตามมาพร้อมกับบิดาด้วย พระยาคลังได้ปรารภว่า โคกนี้สูงใหญ่และกว้าง วางเหมาะที่จะสร้างวัด แต่แล้วก็ยังมิได้สร้างวัด
ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทรงพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2409 ร.ศ.85 ปีขาล เห็นว่าการคมนาคมที่ไปมาระหว่างกรุงเทพมหานคร กับจังหวัดสมุทรสาคร มีคลองภาษีเจริญสำหรับการสัญจรไปมาได้สะดวกดี แต่ถ้าหากมีคลองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี ก็จะสะดวกขึ้นอีกเป็นอันมาก โดยอาศัยแม่น้ำแม่กลองเป็นสื่อกลาง การไปมาหาสู่ การเดินทางค้าขายทางน้ำจะมีความสะดวกและคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
วิหารหลวงพ่อไตรรัตน์โรจน์ฤทธิ์
ในปี พ.ศ. 2409 นั้นเอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่พระสมุหกลาโหม เมื่อครั้งยังพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระปราสาทสิทธิ์ เป็นผู้อำนวยการในการขุดคลองดำเนินสะดวก เพื่อเชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำท่าจีน กับแม่น้ำแม่กลอง
ในระหว่างการขุดคลองดำเนินสะดวกนั้น เมื่อขุดคลองมาถึงหลักห้า ซึ่งเป็นพื้นที่สูงในเขตตำบลดอนไผ่ เจ้าพระยาศรีสุรยิวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ก็รำลึกถึงบิดา คือ เจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ที่เคยปรารภถึงการสร้างวัด ณ ที่แห่งนี้ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จึงตกลงใจสร้างวัดขึ้นด้วยเหตุ 3 ประการคือ
เพื่อปฏิบัติตามความประสงค์ของบิดา
เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับน้องสาวที่วายชนม์ไปแล้ว
เพื่อมีไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้ประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ
เมื่อสร้างวัดแล้วเสร็จเดิมชื่อวัดสมเด็จพระปราสาทสิทธิดาราม ตั้งอยู่ห่างจากริมคลองดำเนินสะดวก ประมาณ 500 เมตร ต่อมาภายหลังได้ย้ายวัดมาอยู่ติดริมคลองดำเนินสะดวก ที่ตั้งวัดเดิมก็เหลือไว้แต่เพียงพระอุโบสถ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เสด็จมาตรวจทรงรับสั่งว่า วัดควรจะมีชื่อตามตำบลที่ตั้งอยู่ คือ ควรเรียกว่า วัดดอนไผ่ และให้ใช้ชื่อเป็นทางการว่า วัดปราสาทสิทธิ์
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เมื่อท่านสร้างวัดนี้ขึ้น จึงเป็นวัดหลวงโดยปริยายและมีการพระราชทานกฐินหลวง กลางเดือน 12 เป็นประเพณีมาตลอด จนถึงสมภารองค์ที่ 3 จึงเลิกไป พระราชทานให้สกุลบุนนาคเป็นผู้ดำเนินการแทน เมื่อสกุลบุนนาคเสื่อมอำนาจลง วัดนี้ก็กลายเป็นวัดราษฎร์ จนถึงทุกวันนี้...
พระพุทธรูปที่สำคัญ คือ องค์หลวงพ่อไตรรัตน์โรจน์ฤทธิ์ ซึ่งประดิษฐานอยู่บนวิหาร ริมคลองดำเนินสะดวก เพื่อให้ประชาชนได้กราบไหว้บูชา และขอพร เกิดความเป็นสิริมงคลกับชีวิตตลอดไป
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/วัà¸à¸à¸£à¸²à¸ªà¸²à¸à¸ªà¸´à¸à¸à¸´à¹".
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
วัดปราสาทสิทธิ์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 5 ตำบลประสาทสิทธิ์ อำเภออำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งแต่เดิมตำบลประสาทสิทธิ์รวมอยู่กับตำบลดอนไผ่ ในบริเวณหลัก 5 ริมคลองดำเนินสะดวก ชาวบ้านจึงมักเรียกว่าวัดดอนไผ่ หรือวัดหลักห้า มีพื้นที่ 12 ไร่เศษ วัดเดิมตั้งอยู่ห่างจากริมคลองดำเนินสะดวกประมาณ 500 เมตร ซึ่งปัจจุบันคือที่ตั้งพระอุโบสถ สร้างโดย สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยสร้างขึ้นในปีฉลู พ.ศ. 2369
วัดปราสาทสิทธิ์
[แก้] มูลเหตุของการสร้างวัดปราสาทสิทธิ์
เมื่อ พ.ศ. 2371 รัชกาลที่ 3 ทรงปรารภว่าคลองสุนัขหอน ซึ่งเป็นคลองเชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำแม่กลองกับแม่น้ำท่าจีน ที่ตำบลรางเข้ มักตื้นเขินอยู่บ่อยครั้ง จะแก้ปัญหาอย่างไร เจ้าพระยาคลัง (ดิศ บุนนาค) จึงกราบบังคมทูลว่า ควรขุดคลองแยกจาก คลองสุนัขหอนผ่านทุ่งริมหมู่บ้านโพหัก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงรับสั่งให้ขุดคลองดังกล่าว โดยชาวจีนเป็นผู้รับจ้าง ซึ่งชาวจีนเหล่านี้อาศัยอยู่ที่โคกสูงในเขตตำบลดอนไผ่ หรือปัจจุบันคือที่ตั้งพระอุโบสถของวัดปราสาทสิทธิ์ เมื่อขุดคลองดังกล่าวเสร็จ เจ้าพระยาคลังได้มาตรวจดูความเรียบร้อย โดยมีสมเด็จเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ติดตามมาพร้อมกับบิดาด้วย พระยาคลังได้ปรารภว่า โคกนี้สูงใหญ่และกว้าง วางเหมาะที่จะสร้างวัด แต่แล้วก็ยังมิได้สร้างวัด
ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทรงพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2409 ร.ศ.85 ปีขาล เห็นว่าการคมนาคมที่ไปมาระหว่างกรุงเทพมหานคร กับจังหวัดสมุทรสาคร มีคลองภาษีเจริญสำหรับการสัญจรไปมาได้สะดวกดี แต่ถ้าหากมีคลองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี ก็จะสะดวกขึ้นอีกเป็นอันมาก โดยอาศัยแม่น้ำแม่กลองเป็นสื่อกลาง การไปมาหาสู่ การเดินทางค้าขายทางน้ำจะมีความสะดวกและคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
วิหารหลวงพ่อไตรรัตน์โรจน์ฤทธิ์
ในปี พ.ศ. 2409 นั้นเอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่พระสมุหกลาโหม เมื่อครั้งยังพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระปราสาทสิทธิ์ เป็นผู้อำนวยการในการขุดคลองดำเนินสะดวก เพื่อเชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำท่าจีน กับแม่น้ำแม่กลอง
ในระหว่างการขุดคลองดำเนินสะดวกนั้น เมื่อขุดคลองมาถึงหลักห้า ซึ่งเป็นพื้นที่สูงในเขตตำบลดอนไผ่ เจ้าพระยาศรีสุรยิวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ก็รำลึกถึงบิดา คือ เจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ที่เคยปรารภถึงการสร้างวัด ณ ที่แห่งนี้ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จึงตกลงใจสร้างวัดขึ้นด้วยเหตุ 3 ประการคือ
เพื่อปฏิบัติตามความประสงค์ของบิดา
เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับน้องสาวที่วายชนม์ไปแล้ว
เพื่อมีไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้ประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ
เมื่อสร้างวัดแล้วเสร็จเดิมชื่อวัดสมเด็จพระปราสาทสิทธิดาราม ตั้งอยู่ห่างจากริมคลองดำเนินสะดวก ประมาณ 500 เมตร ต่อมาภายหลังได้ย้ายวัดมาอยู่ติดริมคลองดำเนินสะดวก ที่ตั้งวัดเดิมก็เหลือไว้แต่เพียงพระอุโบสถ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เสด็จมาตรวจทรงรับสั่งว่า วัดควรจะมีชื่อตามตำบลที่ตั้งอยู่ คือ ควรเรียกว่า วัดดอนไผ่ และให้ใช้ชื่อเป็นทางการว่า วัดปราสาทสิทธิ์
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เมื่อท่านสร้างวัดนี้ขึ้น จึงเป็นวัดหลวงโดยปริยายและมีการพระราชทานกฐินหลวง กลางเดือน 12 เป็นประเพณีมาตลอด จนถึงสมภารองค์ที่ 3 จึงเลิกไป พระราชทานให้สกุลบุนนาคเป็นผู้ดำเนินการแทน เมื่อสกุลบุนนาคเสื่อมอำนาจลง วัดนี้ก็กลายเป็นวัดราษฎร์ จนถึงทุกวันนี้...
พระพุทธรูปที่สำคัญ คือ องค์หลวงพ่อไตรรัตน์โรจน์ฤทธิ์ ซึ่งประดิษฐานอยู่บนวิหาร ริมคลองดำเนินสะดวก เพื่อให้ประชาชนได้กราบไหว้บูชา และขอพร เกิดความเป็นสิริมงคลกับชีวิตตลอดไป
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/วัà¸à¸à¸£à¸²à¸ªà¸²à¸à¸ªà¸´à¸à¸à¸´à¹".
ตลาดสามชุก
ตลาดร้อยปี ตลาดสามชุก
ที่พัก สุพรรณบุรี
Khum Suphan Hotel
ตัวเมืองสุพรรณบุรี ราคา 1000-1200 บาท พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก
เป็นตลาดห้องแถวไม้ 2 ชั้นขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสุพรรณบุรี(ท่าจีน) และรายล้อมด้วยบรรยากาศของบ้านเรือนรวมถึงเรื่องราวของผู้คนในอดีต โดยแทบไม่มีการดัดแปลงเสริมแต่ง ย้อนอดีตกลับไปยุคสมัยที่ตลาดสามชุกเฟื่องฟู ยุคนั้นชาวบ้านจะนำของพื้นเมือง รวมทั้ง เกลือ ฝ้าย แร่ สมุนไพร มาแลกเปลี่ยนซื้อขายให้กับพ่อค้าที่เป็นชาวเรือต่อมาเมื่อริมแม่น้ำสุพรรณ กลายเป็นแหล่งทำนาที่สำคัญ มีโรงสีไฟขนาดใหญ่เกิดขึ้นหลายแห่ง ตลาดสามชุกก็กลายเป็นตลาดข้าวที่สำคัญ มีการค้าขายกันอย่างคึกคัก ทำให้ตลาดสามชุกไม่จำกัดบริเวณอยู่เฉพาะริมน้ำ แต่ยังขยายมาถึงริมฝั่ง โดยแต่ละปีมีการเก็บภาษีได้จำนวนมาก พร้อมๆกับมีการตั้งนายอากรคนแรก ชื่อ “ขุนจำนง จีนารักษ์” ช่วงเวลาเฟื่องฟูของตลาดสามชุกกินเวลานานหลายสิบปี แต่หลังจากที่มีการตัดถนนผ่านสามชุก ผู้คนเปลี่ยนไปใช้ถนนเป็นเส้นทางสัญจรมากขึ้น ส่งผลให้ วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ และการค้าที่ตลาดสามชุกเริ่มซบเซา แต่ตลาดสามชุกก็ยังคงดำเนินวิถีของตลาดห้องแถวไปอย่างต่อเนื่อง
ด้วยความที่ วิถีชีวิตและลักษณะทางกายภาพของชุมชนตลาดสามชุกมีกาลเปลี่ยนแปลงน้อยมาก แม้ว่าจะผ่านกาลเวลามานับร้อยปี เหตุนี้ประชาคมชาวตลาดสามชุกจึงได้มีการปรับปรุง ฟื้นฟู และร่วมกันอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้ของตลาดสามชุกไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม รวมทั้งพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เพื่อให้ตลาดสามชุกกลับมีชีวิตชีวาขึ้นอีกครั้ง หลังนี้เป็นบ้านของขุนจำนง จีนารักษ์ ซึ่งเป็นนายภาษีอากรคนแรกและเป็นเจ้าของตลาดสามชุก ได้สร้างบ้านหลังนี้เมื่อ พ.ศ. 2459 ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของคนในครอบครัว รวมทั้งเป็นที่ต้อนรับและพักอาศัยของผู้หลักผู้ใหญ่และแขกบ้านแขกเมืองหลายคนค่ะ”การเดินทาง สู่ตลาดสามชุก จากกรุงเทพฯ ผ่าน อ. บางบัวทอง จ. นนทบุรี ไปจนถึงตัว จ.สุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 107 กม. จากนั้นไปตามหลวงหมายเลข 340 แยกเข้า อ. สามชุก ตัวตลาดอยู่ริมแม่น้ำสุพรรณติดกับที่ว่าการอำเภอสามชุก
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก โทร. 0-3557-2449, 0-3550-4498 และ 0-1640-3327
ตลาดน้ำอื่นๆที่น่าสนใจ- ตลาดคลองสวนร้อยปี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ- ตลาดบ้านใหม่ ตลาดริมน้ำร้อยปี ฉะเชิงเทรา- ตลาดบางน้ำผึ้ง สมุทรปราการ- ตลาดน้ำโบราณ บางพลี สมุทรปราการ- ตลาดน้ำอัมพวา สมุทรสงคราม- ตลาดดอนหวาย นครปฐม- ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ราชบุรี- ตลาดเก้าห้อง บางปลาม้า สุพรรณบุรี- ตลาดน้ำตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
ประวัติโดเรมอน
Doraemon : โดเรม่อน
โดเรม่อน หรือโดราเอม่อน เป็นแมวหุ่นยนต์ในโลกอนาคต ยุคศตวรรษที่ 22 เกิดวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2655 มีน้ำหนัก 129.5 กก. ความสูง 129.3 ซม. กระโดดได้สูง 129.3 ซม. และยังวิ่งได้เร็วถึง 129.3 กม. / ชม. ลักษณะตัวอ้วนกลมสีน้ำเงิน ไม่มีใบหู เนื่องจากถูกหนูกิน ไม่มีนิ้วมือ มีกระดิ่งห้อยคอสีเหลือง มีหนวดหกเส้น มีกระเป๋าหน้าสำหรับเก็บของวิเศษ สารพัดอย่างที่สุดยอด อาหารที่ชอบที่สุดคือ แป้งทอด (โดรายากิ) สิ่งที่กลัวที่สุดคือ หนู
Nobita : โนบิตะ
โนบิตะ เป็นตัวละครหลักของเรื่อง เป็นเด็กผู้ชายขี้แยคนนึง เป็นคนไม่เอาถ่าน อ่อนแอ ไม่เคยพึ่งพาตนเอง เรียนหนังสือไม่เก่ง สอบได้ 0 บ่อยๆ มาโรงเรียนสายประจำ ถูกทำโทษบ่อยครั้ง ถือว่าเป็นตัวละครที่แย่มากๆ โนบิตะหลงรักชิซูกะ ซึ่งอยู่ในวัยเดียวกัน มีความหวังที่จะได้แต่งงานด้วยเมื่อเขาโตขึ้น แต่ก็มักจะมีอุปสรรค และมีคู่แข่งหลายคนเนื่องจากชิซูกะ เป็นเด็กน่ารัก และด้วยความอ่อนแอของโนบิตะเอง แต่โนบิตะ ได้เพื่อนรักคือโดเรม่อนคอยช่วยเหลือ ทำให้เขามีความมั่นใจมากขึ้น
ตลาดน้ำอัมพวา
สมุทรสงคราม เป็นจังหวัดเล็กๆ ที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมหานคร ใช้เวลาเดินทางประมาณชั่วโมงกว่าก็ถึง หากใครชอบการท่องเที่ยวที่ได้สัมผัสกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบดั่งเดิม ไม่ว่าจะเป็นอาชีพการทำสวนผักผลไม้ การเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว หรือ เที่ยวชมตลาดน้ำท่าคาที่ยังคงสภาพตลาดนัดแบบชาวบ้านชาวสวนของชุมชนริมคลอง จังหวัดสมุทรสงครามจึงเป็นจังหวัดที่น่าไปเยี่ยมเยือนสำหรับผู้สนใจการท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก
หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า ตลาดน้ำคลองลัดพลี มีมานานกว่า 100 ปีเศษมาแล้ว ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการ อำเภอไปทางทิศตะวันออก 400 เมตรตลาดน้ำดำเนินสะดวก ตั้งอยู่ที่คลองดำเนินสะดวกเหมาะที่จะไปเที่ยว ชมในเวลาเช้า เนื่องจากแดดไม่ร้อนและมีเรือขายสินค้าเป็นจำนวนมาก คลองดำเนินสะดวกเป็นคลองที่เชื่อม แม่น้ำท่าจีน กับแม่น้ำแม่กลอง เริ่มตั้งแต่ประตูน้ำบางยาง แม่น้ำท่าจีน อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ถึงประตูน้ำบางนกแขวก แม่น้ำแม่กลอง อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามทำให้ประชาชนในจังหวัด ราชบุรี สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงครามติดต่อถึงกันโดยสะดวกขึ้น ตลอดสองฝั่งคลองดำเนินสะดวก ที่มีความยาว 32 กิโลเมตรนี้ มีคลองซอย คลองเล็ก คลองน้อย แยกออกไปประมาณ 200 คลองเช่น คลอง สี่หมื่น คลองทองหลาง คลองโพธิ์หัก คลองขุน-พิทักษ์ คลองศรีราษฎร์ คลองลัดราชบุรี คลองฮกเกี้ยน ฯลฯ
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนามตลาดน้ำคลองต้นเข็ม เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากของราชบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพฯราว 80 กิโลเมตร
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนามตลาดน้ำคลองต้นเข็ม เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากของราชบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพฯราว 80 กิโลเมตร
เด็กดีที่น่ารักสำหรับฉัน
เด็กดีที่น่ารักสำหรับฉัน
เด็กดีที่น่ารักจะต้องเป็นเด็กดีของครู เพราะเด็กดีต้องเชื่อฟังทุกอย่างรับฟังทุกเรื่องแก้ไข ปรับปรุงทำตัวเองให้ดี รักพ่อแม่พี่น้องช่วยเหลืองานบ้านทุกอย่างโดยไม่มีข้ออ้างใดๆทั้งนั้น พ่อแม่เป็นที่รักของลูกเสมอ เราจะทำอะไรเราต้องคำนึงถึงจิตใจของท่านบ้างกลับไปบ้านบอกคำว่า เรารักท่านเสมอ
เด็กดีที่น่ารักจะต้องเป็นเด็กดีของครู เพราะเด็กดีต้องเชื่อฟังทุกอย่างรับฟังทุกเรื่องแก้ไข ปรับปรุงทำตัวเองให้ดี รักพ่อแม่พี่น้องช่วยเหลืองานบ้านทุกอย่างโดยไม่มีข้ออ้างใดๆทั้งนั้น พ่อแม่เป็นที่รักของลูกเสมอ เราจะทำอะไรเราต้องคำนึงถึงจิตใจของท่านบ้างกลับไปบ้านบอกคำว่า เรารักท่านเสมอ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)